ความสำคัญเกี่ยวกับการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
ความสําคัญเกี่ยวกับการสร้างบรรยากาศในห้องเรียน
การจัดการเรียนการสอนมีองค์ประกอบที่สําคัญอยู่
3
ประการคือ ผู้สอน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ผู้สอนเป็นองค์ประกอบที่สําคัญยิ่งในการจัดการเรี
เพราะจะเป็นผู้กําหนดบรรยากาศเกี่ยวกับการเรียนการสอน
การเรียนการสอนแต่ละครั้งจะให้ รูปแบบใดขึ้นอยู่กับผู้สอนจะเป็นผู้บ่งชี้ทั้งสิ้น
คุณลักษณะของผู้สอนที่ส่งเสริมการเรียน ด้วยดีและมีประสิทธิภาพมีหลายประการ เช่น
มีความรู้ในสิ่งที่จะสอนเป็นอย่างดีทั้งด้านกว้าง
มาลงานนั้นมาถ่ายทอดได้
มีทรรศนะที่ดีต่อการสอนซึ่งหมายถึง มีความปรารถนาดี ผู้เรียน
รักวิชาที่สอนและรักการสอน มีความรู้สึกอยากสอน ส่วนองค์ประกอบที่สําคัญและจํานง
ส่งเสริมการเรียนรู้
ซึ่งผู้สอนจะขาดไปเสียไม่ได้นอกเหนือจากความรู้ความสามารถในการสอน
ผู้สอนจะต้องมีความเข้าใจเห็นอกเห็นใจผู้เรียน
ไม่แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวด้วยวาจาและท่าทาง
ปฏิบัติต่อผู้เรียนให้มีความรู้สึกใกล้ชิด มีความเป็นห่วงผู้เรียน ยอมรับผู้เรียนอย่างที่เขาเป็น
พยายาม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน สิ่งต่างๆ
ที่กล่าวมาจะเป็นพื้นฐานของการจัดการเรียน การสอน
ห้องเรียนเป็นสถานที่ปฏิบัติการสําหรับผู้เรียน
เกี่ยวกับการพัฒนาและค้นพบตนเองเป็น สถานที่ ที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับตนเอง
สังคมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นห้องเรียนควรจะ สร้างบรรยากาศ
ที่เอื้ออํานวยให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ทางบวกเพื่อพัฒนาตนเอง ให้มีทรรศนะอัน
กว้างต่อสังคมที่ผู้เรียนพบปะและอาศัยอยู่
การส่งเสริมบรรยากาศเหล่านี้ให้เกิดขึ้นนั้น ผู้สอนจะต้องเป็น
1.
การยอบรับคุณค่าของผู้เรียนในฐานะบุคคล (respect as a
person) การที่ผู้สอนตระหนักรู้ว่า
ผู้เรียนแต่ละคนจะมีลักษณะเฉพาะตน การขอบรับความแตกต่างระหว่างบุคคล
ถ้าผู้สอนเพียงแต่รู้สึกว่า ผู้เรียนแต่ละคนแตกต่างกันเท่านั้นยังไม่เพียงพอ
จะต้องแสดงออกทางด้านการปฏิบัติหน้าที่มีความ รับผิดชอบต่อการกระทํา
ซึ่งแสดงให้เห็นการยอมรับนั้นด้วยบรรยากาศแห่งความไว้วางใจการให้ความ
อบอุ่นความจริงใจระหว่างครูและศิษย์เน้นให้ผู้เรียนแต่ละคนพยายามค้นคว้าความจริงใจได้ด้วยตนเอง
การค้นพบลักษณะเฉพาะของตนเองในวิธีทางที่ควรจะเป็น ถ้าบรรยากาศในห้องเรียนที่มีแต่การแข่งขัน
ความก้าวร้าว ความกดดัน มีอคติ ความเอารัดเอาเปรียบ
สิ่งเหล่านี้จะเป็นประสบการณ์ทางลบ ที่จะ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาไปในทิศทางที่พึงประสงค์ การพัฒนาความรู้ความสามารถ
การรู้จักแก้ปัญหา การเลือก
การตัดสินใจ ความรับผิดชอบในการกระทําของตนเองรวมทั้งการรู้จักการเรียนรู้
เองและช่วยตนเองได้ ดังนั้น
ผู้สอนจะต้องแสดงพฤติกรรมที่มีความอบอุ่นที่เป็นตัวแทนของ - เพื่อนและสังคม
พฤติกรรมของผู้สอนจะเป็นสิ่งแวดล้อมที่จะสร้างประสบการณ์ให้กับผู้เรียนได้
นมักเเละรับรู้ว่า เขาได้รับการยอมรับที่เต็มไปด้วยความรักใคร่ชอบพอซึ่งกันและกัน
เสริมสร้าง รามารถ
ตอบสนองความต้องการที่จะนําไปสู่การพัฒนาลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล ซึ่งเป็นสิ่ง
และมีคุณค่าจากสิ่งที่กล่าวมาข้างต้นนี้ ผู้สอนจึงต้องมีความอดทน
ใจกว้างรับฟังความคิดเห็น
พร้อมที่จะช่วยเหลือสนับสนุนผู้เรียนอยู่เสมอ
2.
การสื่อสารแบบเปิด (open communication) การสนับสนุนความต้องการของบุคคลที่จะ
มาตนเองให้เต็มศักยภาพเท่าที่จะเป็นได้ (self actualization) ซึ่งเป็นความต้องการของบุคคลที่มีการ
มาสงสด
ที่ต้องการจะเป็นตัวของตัวเองอย่างเต็มที่ ไม่คิดคอยแต่จะหวังพึ่งพาผู้อื่นหรือสิ่งอื่น
ลดลเวลา ช่วยตัวเองได้ มีจิตใจเป็นหลักฝึกตนเองได้ มีความคิดเป็นอิสระ
รู้จักเลือกและตัดสินใจและ มีความรับผิดชอบในสิ่งที่ตนเองเลือก
ไม่ยึดติดกับผู้ใดหรือสิ่งใด การสนับสนุนและการพัฒนาตัวผู้เรียน
ที่จะเป็นตัวของตัวเองนั้น
สิ่งจําเป็นพื้นฐานประการแรกคือการสื่อสารแบบเปิดที่อยู่ในบรรยากาศของ
การยอมรับลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล อารมณ์ ความรู้สึก ค่านิยม พฤติกรรม
แนวคิดของแค่ละ บุคคลที่มีภูมิหลังที่แตกต่างกัน รวมทั้งการฟังอย่างมีประสิทธิผล
ที่ส่งเสริมการสื่อสารให้เกิดความรู้สึก
สัมผัสอันเป็นพื้นฐานที่จะสร้างความเข้าใจระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
ให้ดําเนินกิจกรรมต่อไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
บรรยากาศในชั้นเรียนที่ตอบสนองการปฏิบัติทางด้านความรู้สึก คุณลักษณะค่านิยมการ
เสาะแสวงหาความเป็นตัวของตัวเอง ประสบการณ์เช่นนี้จะเกิดขึ้นได้จากเนื้อหาสาระ
กระบวนการ เรียนรู้กิจกรรมการเรียนการสอน
ที่ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า สามารถพัฒนาตนเอง ได้
ช่วยเหลือตนเองได้และพร้อมที่จะช่วยเหลือผู้อื่น
ดังนั้นกิจกรรมการเรียนการสอนที่จะจัดขึ้นโดยมี จุดมุ่งหมาย
เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักใช้กระบวนการคิด การตัดสินใจ
รู้จักวิธีการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองสามารถ ช่วยเหลือตนเองได้
ประการสุดท้ายให้ผู้เรียนสามารถควบคุมและมีอิสระจากสิ่งแวดล้อมได้
การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนเป็นสิ่งสําคัญ
ที่จะส่งเสริมเกิดความรู้สึกนึกคิดต่อตนเอง รู้จัก ตัวเองดีขึ้น บรรยากาศในห้องเรียนมีหลายรูปแบบ
ซึ่งผู้สอนจะต้องพิจารณาเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ
เนื้อหาวิชาและกลุ่มเป้าหมายของผู้เรียน ปัจจุบันการจัดการเรียนการสอน
ผู้สอนส่วนใหญ่จะมุ่งเน้น ผลสัมฤทธิ์ทางด้านการเรียนหรือสาระความรู้
โดยละเลยการศึกษาของผู้เรียนด้านความรู้สึก คุณลักษณะ ของค่านิยมที่จะปลูกฝังและพัฒนาให้กับผู้เรียน
บรรยากาศในการเรียนที่มุ่งเน้นสาระความรู้อย่างเดียว
อาจจะทําให้ผู้เรียนเบื่อหน่าย
มีความกดดันไม่สนุกกับบทเรียนและส่งผลให้ไม่ชอบวิชาที่เรียนนั้นได้ใน
ที่สุด
องค์ประกอบสําคัญ 4 ประการ
ซึ่งมีอิทธิพลและส่งผลทําให้บรรยากาศในห้ส่งเสริมหรือขัดขวางการเรียนรู้ของผู้เรียน
องค์ประกอบเหล่านี้เป็นสิ่งที่ผู้สอน ตลอดเวลาในการจัดกระบวนการเรียนการสอนคือ
1. การร่วมมือและการแข่งขันของผู้เรียนภายในชั้นเรียนซึ่งประกอบด้
ส่งเสริมให้ผู้เรียนร่วมมือกันแก้ปัญหา 2) การให้แรงเสริมหรือรางวัล
3) บรรยากาศที่ผู้เรียนซึ่งประกอบด้วยรางวัล 3) บรรยากาศที่ผู้เรียนต่างร่วมมือ แข่งขันกัน ผู้เรียนที่เรียนอ่อน ปานกลาง
จะได้
บที่เรียนดีจะมีบทบาทในการช่วยเหลือผู้อื่น
ประโยชน์มากที่สุดจากการร่วมมือกับผู้เรียนอื่น
ๆ ส่วนผู้เรียนที่เรียนดีจะมีบทบาท และเป็นแกนนําด้านวุฒิปัญญา
2. ลักษณะพฤติกรรมและบุคลิกภาพของผู้สอนจะมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้
3. ความร่วมมือระหว่างผู้เรียน
โดยคํานึงถึงวัตถุประสงค์การเรียนเป็นสําคัญ
4 ความรู้สึกและเจตคติของผู้เรียนที่มีต่อกลุ่มเพื่อน
ผู้สอน และโรงเรียนจะมี ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
กล่าวได้ว่า
ผู้สอนเป็นผู้ที่มีบทบาทในการสร้างบรรยากาศของการเรียนรู้ ซึ่งเป็นสิ่งสําคัญมี
อิทธิพลและส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนทั้งด้านความรู้ความสามารถ
และคุณลักษณะค่านิยม ช่วย พัฒนาผู้เรียนให้มีกระบวนทัศน์ที่กว้างขึ้น นอกจากนั้นบรรยากาศในห้องเรียนจะเป็นสิ่งที่ช่วยส่งเสริม
สนับสนนกระบวนการเรียนรู้ ให้เป็นไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ
ไม่ว่าจะเป็นบรรยากาศทาง จิตวิทยา ซึ่งผู้สอนเป็นผู้มีส่วนกําหนดให้มีขึ้น
บรรยากาศทางกายภาพ ได้แก่ อาคารสถานที่ ห้องเรียน และสื่อการเรียนการสอนส่วนบรรยากาศทางสังคมนั้น
ก็เป็นสิ่งจําเป็นที่ครูจะต้องคํานึงถึงด้วยเพราะ บรรยากาศทั้ง 3 ด้านจะสนับสนุนซึ่งกันและกันต่อกระบวนการเรียนการสอนให้ดําเนินไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ผู้สอนเป็นองค์ประกอบที่สําคัญในการจัดการเรียนการสอน
ซึ่งคุณลักษณะของผู้สอนที่จําเป็น นั้น นอกจากความรู้ทางด้านวิชาการและวิธีสอนแล้ว
ควรจะมีความเข้าใจและเห็นอกเห็นใจผู้เรียน ไม่ ก้าวร้าว
รับฟังความคิดเห็นของผู้เรียน
มีความบริสุทธิ์ใจและจริงใจต่อผู้เรียนส่วนบรรยากาศทาง
จิตวิทยาที่เอื้ออํานวยต่อการเรียนรู้นี้ เป็นสิ่งที่ผู้สอนส่วนมากจะละเลยและไม่ใคร่ให้ความสนใจ
ซึ่ง ความจริงแล้วบรรยากาศในชั้นเรียนนี้
ผู้สอนเป็นผู้พิจารณากําหนดที่จะให้เป็นในรูปแบบใดก็ได้
บรรยากาศในชั้นเรียนนี้จะเป็นสิ่งที่ช่วยพัฒนาตัวผู้เรียน
และการเรียนการสอนจะดําเนินไปตามรูปแบบ ที่ผู้สอนกําหนดขึ้น ซึ่งแบ่งได้เป็น 7 ประการคือ
1. บรรยากาศที่ท้าทาย
เป็นการกระตุ้นให้เกิดกําลังใจ เพื่อให้ผู้เรียนประสบผลสําเร็จในการ เรียน เช่น
การเรียนในบางหัวข้อจะมีความยากและซับซ้อน แต่ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียน
ความเชื่อในความสามารถของผู้เรียนที่จะทํางานนั้น
ทําให้ผู้เรียนรู้มีอิสระและภูมิใจที่จะทํา ไม่รู้สึกว่า
บังคับแม้ว่างานนั้นจะยากและซับซ้อนเพียงใด
2. บรรยากาศที่อิสระ
คือการช่วยให้ผู้เรียนมีการยอมรับนับถือตนเอง (self esteem) ผู้เรียน
สโอกาสที่จะเลือก ตัดสินใจต่อสิ่งที่มีคุณค่า มีความหมาย
รวมทั้งโอกาสที่จะทําความผิดพลาดด้วย เพราะ ความล้มเหลวก็เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้
ดังนั้นการเรียนคือการเลือกตามที่ตนเองต้องการเรียนรู้ไม่ใช่
การบังคับ
3.
บรรยากาศที่มีการยอมรับนับถือซึ่งกันและกัน
การที่สอนเห็นคุณค่าในตัวผู้เรียนเป็นบุคคลสำคัญมากกว่าการเรียนการสอน
ซึ่งเขาสามารถเรียนรู้ได้ เพราะการใช้เวลาเรียนของแต่ละคนไม่เท่ากัน การสร้างความมั่นใจให้กับผู้เรียนจะช่วยให้เขายอมรับนับถือในตนเองด้วย
ซึ่งจะมีผลต่อการบุคคลสําคัญมากกว่าการเรียนการสอนกระทํากิจกรรมต่าง ๆ ของผู้เรียน
โดยตรง
4. บรรยากาศที่มีความอบอุ่น
ผู้สอนจะต้องไม่ลืมว่าความอบอุ่นทางจิตใจจะมีผลต่อ ซึ่งในการเรียน
การที่ผู้สอนเข้าใจ มีความเป็นมิตร ช่วยชี้แนะในการเรียนเป็นลําดับสําคัญ
ขั้นตอนก็จะทําให้ผู้เรียนรู้สึกอยากจะเรียน รักการเรียน รักวิชาที่เรียน
5. บรรยากาศแห่งความมีวินัยแห่งตน
ผู้เรียนที่อยู่ในบรรยากาศที่เป็นกันเองจะมีการพัฒนา
ความมั่นใจในตนเองได้ดีกว่าผู้เรียนที่อยู่ในบรรยากาศที่มีการควบคุม
แต่กระบวนการเรียนการสอนจะ เดินไม่ได้ต้องมีลําดับขั้นตอน
ในบางครั้งผู้สอนจะต้องชี้แจงให้ผู้เรียนเข้าใจและขอความร่วมมือ
เมากกว่าที่จะสร้างเงื่อนไขกฎระเบียบของเรียนอันจะทําให้ผู้เรียนรู้สึกเครียดเพราะความรับผิดชอบและ
วินัยในการเรียนรู้ จะต้องเกิดจากการตกลงกันทั้งสองฝ่าย
ไม่ได้เกิดจากการที่ผู้สอนเป็นผู้กําหนด
6. บรรยากาศแห่งความสําเร็จ
เป็นสิ่งที่ผู้สอนจะต้องพยายามสร้างให้เกิดขึ้นในชั้นเรียน
เพราะผู้เรียนมีความคาดหวังในการเรียนสูง
การชี้แจงเหตุผลของความสําเร็จให้ผู้ทราบจะช่วยให้ผู้เรียน ก้าวหน้าไปได้อย่างดี
เพราะผู้เรียนจะเรียนรู้จากผลแห่งความสําเร็จมากกว่าความล้มเหลว การชี้แจง เหตุผลของความล้มเหลวควรพิจารณาวินิจฉัย
และมีข้อมูลสนับสนุนในการแก้ไขด้วย การที่ผู้สอนชอบ พูดแต่ความล้มเหลวของผู้เรียนอยู่ตลอดเวลา
จะมีผลทําให้ผู้เรียนมีความคาดหวังต่ําไม่ช่วยให้เกิดการ เรียนรู้ที่ดี
เพราะว่าคนเราจะเรียนรู้ว่าตนเองว่ามีความสามารถนั้นไม่ใช่จากความล้มเหลว แต่มาจาก
ความสําเร็จตามขั้นตอน
7. บรรยากาศแห่งความใกล้ชิด
ผู้เรียนทุกคนมีความต้องการที่จะได้รับการสัมผัสแตะต้อง
และความเอาใจใส่หรือความสนใจจากผู้สอนและผู้เรียนคนอื่น ๆ
ผู้เรียนทุกคนมีความต้องการที่จะกระทํา อย่างใดอย่างหนึ่งในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน
ความต้องการเหล่านี้เป็นความต้องการทั้งทางกายและทาง จิตใจ การกระทําใด ๆ
ก็ตามที่บ่งชี้ให้เห็นความสนใจปรากฏต่อผู้อื่น ผู้เรียนบางตนต้องการความเอาใจ
ใส่นมาก เพื่อช่วยให้เขารู้สึกมั่นคงปลอดภัยทางด้านจิตใจ
ซึ่งผู้สอนอาจพิจารณาให้ความเอาใจใส่ใน รูปแบบของการสัมผัสแตะต้องทางกายโตรงตรง
หรือในรูปแบบของท่าที่สัญลักษณ์ของความเอาใจใส่
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ใกล้ชิด เช่น การมอง การสบตา การใช้คําพูด
การแสดงออกทางสีหน้า ท่าทางหรือด้วยการกระทําใด ก็ตาม
ที่เป็นการแสดงให้ผู้เรียนรู้สึกสัมผัสและรับรู้ว่ามีความใกล้ชิดได้รับความ
เอาใจใส่จากผู้สอนการเอาใจใส่ทางบวกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ของอารมณ์ความรู้สึกของผู้เรียนมีความรู้สึกดีมีชีวิตชีวา
ตื่นตัว กระฉับกระเฉง และรู้สึกว่าตนมีความสําคัญเป็นการเพิ่มพนอน ทางด้านดี (well
being) ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งจะช่วยส่งเสริมความเฉลียวฉลาดของผู้เรียนอย่าง
แอนเดอร์สัน
(Anderson) ได้ศึกษาบรรยากาศทางสังคมในห้องเรียน
ซึ่งแยกได้ลักษ.. ที่มีอิทธิพลและส่งผลต่อความรู้ ความรู้สึกและพฤติกรรมการเรียน
ซึ่งผู้สอนควรจะได้พิจารณา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ดังนี้คือ ความสําคัญเป็นการเพิ่มพูนความรู้สึกฉลาดของผู้เรียนอย่างน่าพึงพอใจในห้องเรียน
ซึ่งแยกได้ลักษณะต่าง ๆ เรียน ซึ่งผู้สอนควรจะได้พิจารณาศึกษาใน
1.
ความเป็นกันเอง ความรู้สึกใกล้ชิด
สนิทสนมคุ้นเคยของสมาชิกในกลุ่มผู้เรียน
2 การแบ่งกลุ่มเพื่อทํากิจกรรมการเรียนต่าง ๆ ตามจุดประสงค์ของการเรียนรู้
3. มีการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ กิจกรรมการเรียนมีรูปแบบที่สามารถปฏิบัติได้
4. การดําเนินกิจกรรมการเรียนเป็นไปอย่างมีลําดับขั้นตอน ไม่ล่าช้าและเหมาะการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ เช่น หนังสือ เครื่องมือ วัสดุอยู่ในสภาพ พร้อมที่จะใช้ได้ตลอดเวลา
2 การแบ่งกลุ่มเพื่อทํากิจกรรมการเรียนต่าง ๆ ตามจุดประสงค์ของการเรียนรู้
3. มีการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ กิจกรรมการเรียนมีรูปแบบที่สามารถปฏิบัติได้
4. การดําเนินกิจกรรมการเรียนเป็นไปอย่างมีลําดับขั้นตอน ไม่ล่าช้าและเหมาะการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ เช่น หนังสือ เครื่องมือ วัสดุอยู่ในสภาพ พร้อมที่จะใช้ได้ตลอดเวลา
6.
ขจัดความขัดแย้ง
ส่งเสริมความร่วมมือกันระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนและผู้สอน
7. ผู้สอนและผู้เรียนทราบถึงจุดประสงค์และความคาดหวังในกาเรียนชัดเจน
8. ไม่ส่งเสริมระบบคนโปรดของครู ซึ่งยังผลให้เกิดความไม่เป็นธรรมขึ้นได้
9. ผู้เรียนมีโอกาสได้ทํากิจกรรมที่ยากและท้าทายความสามารถอยู่เสมอ
10. ขจัดความเฉื่อยชาอันเป็นสาเหตุของความเบื่อหน่ายต่อการเรียนการสอน
11. การตัดสินใจทํากิจกรรมต่าง ๆ ในชั้นเรียนมาจากผู้เรียนเป็นส่วนใหญ่
12. ไม่ส่งเสริมการแบ่งเป็นพรรคเป็นพวก หรือเป็นก๊กเป็นเหล่า
13. ผู้เรียนมีความพึงพอใจกับกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน
7. ผู้สอนและผู้เรียนทราบถึงจุดประสงค์และความคาดหวังในกาเรียนชัดเจน
8. ไม่ส่งเสริมระบบคนโปรดของครู ซึ่งยังผลให้เกิดความไม่เป็นธรรมขึ้นได้
9. ผู้เรียนมีโอกาสได้ทํากิจกรรมที่ยากและท้าทายความสามารถอยู่เสมอ
10. ขจัดความเฉื่อยชาอันเป็นสาเหตุของความเบื่อหน่ายต่อการเรียนการสอน
11. การตัดสินใจทํากิจกรรมต่าง ๆ ในชั้นเรียนมาจากผู้เรียนเป็นส่วนใหญ่
12. ไม่ส่งเสริมการแบ่งเป็นพรรคเป็นพวก หรือเป็นก๊กเป็นเหล่า
13. ผู้เรียนมีความพึงพอใจกับกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน
14. ไม่ปล่อยชั้นเรียนจนเกิดความไม่เป็นระเบียบและขาดความรับผิดชอบต่อการเรียน
การสอนกล่าวได้ว่า ความสําคัญของบรรยากาศในชั้นเรียนในคุณลักษณะต่าง ๆ
เป็นสิ่งจําเป็นที่ผู้สอน จะต้องตระหนักถึงอยู่ตลอดเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้
ได้พัฒนาเสริมสร้างคุณลักษณะค่านิยมของผู้เรียนให้เป็นไปในทิศทางที่พึงประสงค์การเรียนการสอนนน
มีองค์ประกอบทางด้านสิ่งแวดล้อมในการเรียนที่ละเอียดอ่อนและมีความสําคัญเท่าเทียมกันกับเนื้อหา
และจุดประสงค์การเรียน ซึ่งผู้สอนจะต้องพิจารณาเลือกใช้บรรยากาศที่ดีในชั้นเรียน
ให้ความเป็นอิสระ และใช้ความสามารถของผู้เรียนมาเป็นประโยชน์ในการฝึกอบรม
ท่าทีและพฤติกรรมของผู้สอนจะต้อง แสดงออกว่า ผู้สอนมีความปรารถนาดี ยกย่องและ
นับถือ สนใจปัญหาของผู้เรียนอยู่คล
เป็นการสร้างบรรยากาศแห่งความไว้วางซึ่งกันและกัน ทั้งนี้ต้องคํานึงความต้องการ
มากกว่าความต้องการของผู้สอน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น